สื่อการเมือง เลือกข้าง เลือกสี แบบมีเหตุผล...ที่ไม่สนับสนุนความรุนแรง ตามสไตล์ของ...ผู้ดูแลบล็อก **ได้เนื้อหาสาระ ไปทางคลิปภาพ+เสียง มากกว่าข้อความยาวๆ (อ่านแล้วง่วง) ผสมกับความบันเทิง ทำให้ไม่เครียดหรือหนัก จนเกินไป** ----------หมายเหตุ..คลิปบันเทิง Entertainment เลื่อนลงไปล่างสุด ของบล็อกเลยค่ะ----------
วันศุกร์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
พันธมิตรจะซื้อประเทศไทยราคาถูกๆ
นี่คือข้อความที่ พันธมิตร เมล์มาด่าพวกเสื้อแดง ว่า......
Stupid people like you should live in Thailand forever and ever. Good, keep on your good work and we will buy this country off cheaply and sell it back to your poor red neck relatives for more money. (อัตตา สูงมาก เหมือนเจ๊กลิ้ม)
อีเมล์ คนส่ง : kathryn-robin@hotmail.com
Stupid people like you should live in Thailand forever and ever. Good, keep on your good work and we will buy this country off cheaply and sell it back to your poor red neck relatives for more money. (อัตตา สูงมาก เหมือนเจ๊กลิ้ม)
อีเมล์ คนส่ง : kathryn-robin@hotmail.com
วันพฤหัสบดีที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
จุดอ่อนมรณะที่ทำลายความหวังของไทย โดย The Financial Times
Fatal flaws that wrecked Thailand’s promise
By David Pilling Published: April 29 2009 19:50 Last updated: April 29 2009 19:50
จุดอ่อนมรณะที่ทำลายความหวังของไทย โดย The Financial Times
By David Pilling Published: April 29 2009 19:50 Last updated: April 29 2009 19:50
In 1995 The Economist projected that by 2020 Thailand would be the world’s eighth-largest economy. Its forecast, which now looks a tad, shall we say, optimistic, followed a 10-year run in which Thailand muscled out even China as the world’s fastest-growing economy, expanding at a blistering 8.4 per cent a year. Those were the days.
เมื่อปี 1995 นิตยสาร The Economist ได้คาดการณ์ไว้ว่าภายในปี 2020 เศรษฐกิจของไทยจะมีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 8 ของโลก การพยากรณ์ดังกล่าว (ในทัศนะของเราเห็นว่าเป็นการมองโลกในแง่ดีอยู่สักหน่อย) ใช้วิธีประเมินเอาจากช่วงเวลา 10 ปีในอดีต ซึ่งประเทศไทยเติบโตได้ดีกว่าแม้แต่ประเทศจีน ด้วยการเป็นประเทศที่เศรษฐกิจเติบโตเร็วที่สุดในโลก มีการขยายตัวได้อย่างยอดเยี่ยมในอัตราร้อยละ 8.4 ต่อปี แต่นั่นเป็นวันในอดีต
The decade after the Asian financial crisis, which began with the devaluation of the baht and ended with the 2006 coup that ousted Thaksin Shinawatra, the former prime minister, has not been so kind. Although the country bounced back from the 1997 devaluation, when it carelessly misplaced 15 per cent of gross domestic product in 18 months, the economy never recovered its former vigour. It has bumbled along at a respectable, but less than socially transformative, 4-5 per cent a year. This year its economy is likely to shrink by some 5 per cent. In that, admittedly, it is not alone.
ทศวรรษถัดจากวิฤติเศรษฐกิจอาเซียนซึ่งมีจุดเริ่มต้นที่การลดค่าเงินบาทและจบที่การรัฐประหารทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีเมื่อปี 2006 ไม่ใช่ช่วงเวลาที่ดี แม้ว่าประเทศจะฟื้นกลับจากกรณีลดค่าเงินบาทเมื่อปี 1997 ความประมาททำให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ร่วงลงไปถึงร้อยละ 15 ภายในเวลา 18 เดือน และเศรษฐกิจก็ไม่ย้อนคืนสู่ความรุ่งโรจน์อีก แต่กลับร่วงลงไปอยู่ที่ร้อยละ 4.5 ต่อปี (ก็ยังน้อยกว่าการเปลี่ยนแปลงทางสังคม) ปีนี้มีแนวโน้มว่าเศรษฐกิจจะหดตัวลงราวร้อยละ 5 (แต่ก็ยอมรับว่าไม่ใช่ว่าจะลดอยู่ประเทศเดียว)
Yet it is fair to ask why Thailand has failed to fulfil its potential. Once mentioned, at least by the excitable, in the same breath as high-tech Taiwan, it is now more likely to be grouped with the high-maintenance Philippines. Far from closing in on the world’s eighth-biggest economy – a slot currently occupied by Spain, with an output nearly six times that of Thailand – it languishes in 33rd place. In per capita terms it plods in at an even more pedestrian 78th, with an income of $3,851, far below Taiwan’s $17,000 although above the likes of Indonesia at about $2,000.
ถือว่าชอบธรรมที่จะถามว่าทำไมไทยถึงไม่สามารถแสดงศักยภาพได้ เมื่อก่อนคงเป็นเพราะความตื่นเต้น จึงกล่าวว่าไทยอยู่ในระดับเดียวกันกับไต้หวันที่มีเทคโนโลยีชั้นสูง ตอนนี้ไทยดูเหมือนจะอยู่กลุ่มเดียวกันกับประเทศที่แช่นิ่งอย่างฟิลิปปินส์ ไม่ได้ใกล้ความเป็นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจอันดับแปดของโลกเอาเสียเลย (ผู้ครองอันดับนี้คือประเทศสเปนซึ่งมีผลผลิตมากกว่าไทยหกเท่า) ตอนนี้ไทยอยู่อันดับที่ 33 แต่ถ้าคิดในรูปรายได้ต่อคนแล้วจะอยู่ไกลถึงลำดับที่ 78 ณ ระดับรายได้ 3,851 เหรียญสหรัฐ ต่ำกว่าไต้หวันซึ่งอยู่ที่ระดับ 17,000 เหรียญสหรัฐ ถึงแม้ว่าจะสูงกว่าอินโดนีเซียซึ่งอยู่ที่ 2,000 เหรียญสหรัฐ
Adding to its woes – or arguably helping to explain them – Thailand is stuck in a seemingly intractable political crisis. Long a country of coup and counter-coup, for years it nevertheless managed to maintain something approaching political stability. Now it is caught in a trap in which a previously disenfranchised rural poor wants a say in a political system still dominated by the Bangkok elite not yet prepared to allow the “barbarians” through the gate. The stand-off has undermined the already shaky confidence of foreign and domestic investors.
สิ่งที่เข้ามาซ้ำเติม (หรือมาเป็นเหตุผลในการอธิบายสถานการณ์) ก็คือประเทศไทยตรึงอยู่กับวิกฤติทางการเมืองที่แก้ไขไม่ได้ ประเทศที่มีการรัฐประหารและต่อต้านการรัฐประหารมาเนิ่นนาน ถึงจะผ่านไปหลายปีก็ยังไม่สามารถเข้าใกล้ความมีเสถียรภาพทางการเมืองได้ ตอนนี้ก็ติดกับดักโดยคนชนบทที่ยากจนซึ่งคะแนนเสียงถูกละเลยกำลังต้องการมีสิทธิมีเสียงในระบบการเมืองซึ่งถูกครอบงำโดยอภิสิทธิ์ชนในกรุงเทพฯซึ่งยังไม่เตรียมพร้อมที่จะให้พวก”ป่าเถื่อน” ผ่านเข้ามา ความขัดแย้งยิ่งไปสั่นสะเทือนความมั่นใจของนักลงทุนทั้งในประเทศและนอกประเทศให้แย่ลงไปอีก
This month, Thailand showcased its political chaos for flummoxed regional leaders attending the Association of South-east Asian Nations summit. The gathering was cancelled and the likes of Wen Jiabao, China’s premier, had to be evacuated after the conference facilities were stormed by a brightly coloured mob of Mr Thaksin’s supporters. In subsequent clashes on the streets of Bangkok at least two people were killed. A car carrying Abhisit Vejjajiva, the third prime minister since democracy nominally returned in 2007, came under attack after he declared a state of emergency. There are, Mr Abhisit said with admirable understatement in a Financial Times interview last week, “some major challenges we have to face up to”.
เดือนนี้ (เมษายน) ประเทศไทยก็มีความปั่นป่วนทางการเมืองออกมาเขย่าผู้นำที่มาร่วมประชุมสุดยอดอาเซียน การประชุมถูกยกเลิก บรรดาผู้นำ เช่น นายกรัฐมนตรี เหวิน เจียเป่า ของจีน ต้องถูกอพพพหลังจากสถานที่ประชุมถูกบุกโดยกลุ่มผู้สนับสนุนคุณทักษิณในชุดสีแสบตาต่อจากนั้นก็มีการปะทะกันที่กรุงเทพฯ มีคนตายอย่างน้อยสองคน รถของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หลังการกลับสู่ประชาธิปไตยในปี 2550 ก็ได้ถูกทุบตีหลังจากเขาประกาศภาวะฉุกเฉิน คุณอภิสิทธิ์ได้ให้สัมภาษณ์ไฟแนนเชี่ยล ไทมส์ แสดงความชื่นชมแบบประชดประชันเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่า “เป็นความท้าทายบางประการที่เราต้องเผชิญ”
One of the reasons Thailand has failed to flourish as once predicted is that its growth was built on weaker foundations than supposed. What was in the 1950s an economy based on US patronage, and exports of rice and tapioca, developed into one fuelled by Japanese capital looking for a home after the revaluation of the yen in the mid-1980s. Japanese companies poured in money, building an industrial base, especially in car manufacturing, that remains central to whatever economic success the country still enjoys.
หนึ่งในเหตุผลหลายประการที่ประเทศไทยต้องล้มเหลว ไม่ประสบความสำเร็จตามคำทำนายก็คือการเติบโตเกิดมาจากพื้นฐานที่อ่อนแอกว่าที่คิดไว้ เศรษฐกิจในทศวรรษที่ 1950 ขึ้นกับความช่วยเหลือของสหรัฐอเมริกา การส่งออกข้าวและมันสำปะหลังพัฒนาไปเพราะพลังทุนจากญี่ปุ่นที่มองหาฐานที่มั่นหลังจากการปรับค่าเงินเยนใหม่ในช่วงกลางทศวรรษที่ 1980 บริษัทญี่ปุ่นเทเงินลงมา สร้างฐานการผลิตทางอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผลิตรถยนต์ นี่เป็นเหตุผลหลักของความสำเร็จที่ไทยยังคงได้รับอานิสงค์อยู่
In the 1980s and early 1990s, local entrepreneurs clambered aboard, funded by a powerful local banking system and oiled by age-old connections. The political situation was always chaotic; there have been 18 coup attempts since the end of absolute monarchy in 1932, 11 of them successful. But for much of the time, according to Supavud Saicheua, an economist at Phatra Securities, the country maintained an uneasy equilibrium between monarchy, military, aristocracy and bureaucracy.
ทศวรรษ 1980 และต้นทศวรรษ 1990 ผู้ประกอบการในประเทศคืบคลานสู่ต่างประเทศด้วทุนจากระบบธนาคารท้องถิ่นที่มีอำนาจมหาศาลประกอบกับการสนุบสนุนจากเส้นสายโบร่ำโบราณ สถานการณ์ทางการเมืองมีความวุ่นวายอยู่ตลอด มีความพยายามทำรัฐประหาร 18 ครั้ง นับจากการสิ้นสุดระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชเมื่อปี 1932 ประสบความสำเร็จ 11 ครั้ง ตามความเห็นของศุภวุฒิ สายเชื้อ นักเศรษฐศาสตร์จากหลักทรัพย์ภัทร หลายครั้งหลายหนที่ประเทศไทยต้องเผชิญกับสมดุลที่ง่อนแง่นระหว่าง กษัตริย์ ทหาร คนชั้นสูง และระบบราชการ
Thailand produced few truly world-class companies. It remained, by and large, a rentier economy, funded by foreign capital and driven by foreign expertise. At the time, of course, that was all the rage. In 1991, the World Bank and the International Monetary Fund held their annual meetings in Thailand, a testimony to its openness and liberal reform. That went to Thailand’s head. In 1993 it went the whole hog, liberalising its capital account and setting in train the disastrous over-borrowing in foreign currency that ended with the 1997 crash.
ประเทศไทยมีบริษัทระดับโลกจริงๆอยู่เพียงไม่กี่แห่ง ไทยอยู่ได้โดยด้วยนักลงทุน รับทุนจากเงินทุนของต่างชาติและขับเคลื่อนโดยผู้เชื่ยวชาญต่างชาติเป็นส่วนใหญ่ แน่นอนว่าครั้งหนึ่งไทยเคยเป็นที่นิยมชมชอบ ธนาคารโลกและไอเอ็มเอฟจัดการประชุมประจำปีขึ้นในปี 1991 เป็นเครื่องยืนยันการปฏิรูปที่เปิดกว้างและมีเสรีภาพ ซึ่งยังอยู่ในความทรงจำของไทย ในปี 1993 ไทยก็จมมิดอยู่ในความทุกข์ การเปิดเสรีเงินทุนและการกู้ยืมเงินต่างชาติอย่างต่อเนื่องจนเกินตัวถึงขีดอันตราย และในที่สุดก็ล้มลงเมื่อปี 1997
The crisis led to what Pasuk Phongpaichit and Chris Baker call in their book Thailand’s Boom and Bust a “decapitation of Thailand’s [foreign-currency indebted] capitalist class”. The country has never recovered from the mass beheading. Today, bank lending to business languishes at two-thirds of 1990s levels. The economy has become more dependent on foreign demand, a liability in a world of frightened consumers. Trade accounts for 150 per cent of GDP, against 80 per cent before 1997.
วิกฤติครั้งนั้นทำให้ ผาสุก พงษ์ไพจิตร และคริส เบเคอร์ เรียกในหนังสือของพวกเขาชื่อ “ความรุ่งโจน์และย่อยยับของประเทศไทย” ว่าเป็นการ”ตัดหัวชนชั้นนายทุนที่ก่อหนี้เป็นเงินตราต่างประเทศ” ประเทศไทยไม่เคยฟื้นจากการตัดหัวครั้งใหญ่ ทุกวันนี้ธนาคารให้กู้ยืมแก่ธุรกิจในระดับ 2 ใน 3 ของปี 1990 เศรษฐกิจต้องพึ่งพาอุปสงค์จากต่างประเทศมากขึ้น สายตาของลูกค้าที่กลัวการมีหนี้สิน ดุลการค้าอยู่ที่ร้อยละ 150 ของ GDP ขณะที่ในปี 1997 อยู่ที่ร้อยละ 80
The destruction of Thailand’s entrepreneurial class helped pave the way for Mr Thaksin, one of the few capitalist survivors of the crisis. He converted his wealth, which came courtesy of a telephone monopoly, into political capital, riding into office with the votes of a newly empowered rural poor.
ความล่มสลายของชนชั้นนายทุนเป็นการแผ้วถางทางให้แก่คุณทักษิณซึ่งเป็นหนึ่งในบรรดานายทุนที่รอดชีวิตมาจากวิกฤติการณ์ เขาผันความร่ำรวยซึ่งได้มาจากการธุรกิจโทรศัพท์ไปสู่ทุนทางการเมือง เข้าสู่ทำเนียบด้วยคะแนนจากคนชนบทผู้ยากจนซึ่งเพิ่งจะมีสิทธิมีเสียงหมาดๆ
Mr Thaksin’s election and subsequent conduct proved too much for a Bangkok elite that had not previously seen fit to share power. Its displeasure was finally vented in the coup of 2006, an attempt to roll the country back to a prelapsarian land of smiles. But there is no going back. Unfortunately, it is not yet clear how Thailand can move forward either.
การเลือกทักษิณและพฤติกรรมหลังจากนั้นเป็นยิ่งกว่าการยืนยันแก่อภิสิทธิ์ชนในกรุงเทพซึ่งรู้กันมาก่อนว่าไม่ยินดีที่จะแบ่งปันอำนาจ ความไม่พอใจของอภิสิทธิ์ชนในกรุงเทพนี้นำไปสู่การรัฐประหารในปี 2006 ซึ่งเป็นการกระทำที่ย้อนประเทศไปสู่ยุคเริ่มสร้างโลกก่อนเป็นแผ่นดินแห่งรอยยิ้ม แต่จะย้อนอดีตก็ไม่ได้ โชคร้ายที่ยังไม่ชัดว่าไทยจะก้าวไปข้างหน้าได้อย่างไร
http://www.ft.com/cms/s/0/ebf80c58-34ed-11de-940a-00144feabdc0.html?ftcamp=rss
By David Pilling Published: April 29 2009 19:50 Last updated: April 29 2009 19:50
จุดอ่อนมรณะที่ทำลายความหวังของไทย โดย The Financial Times
By David Pilling Published: April 29 2009 19:50 Last updated: April 29 2009 19:50
In 1995 The Economist projected that by 2020 Thailand would be the world’s eighth-largest economy. Its forecast, which now looks a tad, shall we say, optimistic, followed a 10-year run in which Thailand muscled out even China as the world’s fastest-growing economy, expanding at a blistering 8.4 per cent a year. Those were the days.
เมื่อปี 1995 นิตยสาร The Economist ได้คาดการณ์ไว้ว่าภายในปี 2020 เศรษฐกิจของไทยจะมีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 8 ของโลก การพยากรณ์ดังกล่าว (ในทัศนะของเราเห็นว่าเป็นการมองโลกในแง่ดีอยู่สักหน่อย) ใช้วิธีประเมินเอาจากช่วงเวลา 10 ปีในอดีต ซึ่งประเทศไทยเติบโตได้ดีกว่าแม้แต่ประเทศจีน ด้วยการเป็นประเทศที่เศรษฐกิจเติบโตเร็วที่สุดในโลก มีการขยายตัวได้อย่างยอดเยี่ยมในอัตราร้อยละ 8.4 ต่อปี แต่นั่นเป็นวันในอดีต
The decade after the Asian financial crisis, which began with the devaluation of the baht and ended with the 2006 coup that ousted Thaksin Shinawatra, the former prime minister, has not been so kind. Although the country bounced back from the 1997 devaluation, when it carelessly misplaced 15 per cent of gross domestic product in 18 months, the economy never recovered its former vigour. It has bumbled along at a respectable, but less than socially transformative, 4-5 per cent a year. This year its economy is likely to shrink by some 5 per cent. In that, admittedly, it is not alone.
ทศวรรษถัดจากวิฤติเศรษฐกิจอาเซียนซึ่งมีจุดเริ่มต้นที่การลดค่าเงินบาทและจบที่การรัฐประหารทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีเมื่อปี 2006 ไม่ใช่ช่วงเวลาที่ดี แม้ว่าประเทศจะฟื้นกลับจากกรณีลดค่าเงินบาทเมื่อปี 1997 ความประมาททำให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ร่วงลงไปถึงร้อยละ 15 ภายในเวลา 18 เดือน และเศรษฐกิจก็ไม่ย้อนคืนสู่ความรุ่งโรจน์อีก แต่กลับร่วงลงไปอยู่ที่ร้อยละ 4.5 ต่อปี (ก็ยังน้อยกว่าการเปลี่ยนแปลงทางสังคม) ปีนี้มีแนวโน้มว่าเศรษฐกิจจะหดตัวลงราวร้อยละ 5 (แต่ก็ยอมรับว่าไม่ใช่ว่าจะลดอยู่ประเทศเดียว)
Yet it is fair to ask why Thailand has failed to fulfil its potential. Once mentioned, at least by the excitable, in the same breath as high-tech Taiwan, it is now more likely to be grouped with the high-maintenance Philippines. Far from closing in on the world’s eighth-biggest economy – a slot currently occupied by Spain, with an output nearly six times that of Thailand – it languishes in 33rd place. In per capita terms it plods in at an even more pedestrian 78th, with an income of $3,851, far below Taiwan’s $17,000 although above the likes of Indonesia at about $2,000.
ถือว่าชอบธรรมที่จะถามว่าทำไมไทยถึงไม่สามารถแสดงศักยภาพได้ เมื่อก่อนคงเป็นเพราะความตื่นเต้น จึงกล่าวว่าไทยอยู่ในระดับเดียวกันกับไต้หวันที่มีเทคโนโลยีชั้นสูง ตอนนี้ไทยดูเหมือนจะอยู่กลุ่มเดียวกันกับประเทศที่แช่นิ่งอย่างฟิลิปปินส์ ไม่ได้ใกล้ความเป็นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจอันดับแปดของโลกเอาเสียเลย (ผู้ครองอันดับนี้คือประเทศสเปนซึ่งมีผลผลิตมากกว่าไทยหกเท่า) ตอนนี้ไทยอยู่อันดับที่ 33 แต่ถ้าคิดในรูปรายได้ต่อคนแล้วจะอยู่ไกลถึงลำดับที่ 78 ณ ระดับรายได้ 3,851 เหรียญสหรัฐ ต่ำกว่าไต้หวันซึ่งอยู่ที่ระดับ 17,000 เหรียญสหรัฐ ถึงแม้ว่าจะสูงกว่าอินโดนีเซียซึ่งอยู่ที่ 2,000 เหรียญสหรัฐ
Adding to its woes – or arguably helping to explain them – Thailand is stuck in a seemingly intractable political crisis. Long a country of coup and counter-coup, for years it nevertheless managed to maintain something approaching political stability. Now it is caught in a trap in which a previously disenfranchised rural poor wants a say in a political system still dominated by the Bangkok elite not yet prepared to allow the “barbarians” through the gate. The stand-off has undermined the already shaky confidence of foreign and domestic investors.
สิ่งที่เข้ามาซ้ำเติม (หรือมาเป็นเหตุผลในการอธิบายสถานการณ์) ก็คือประเทศไทยตรึงอยู่กับวิกฤติทางการเมืองที่แก้ไขไม่ได้ ประเทศที่มีการรัฐประหารและต่อต้านการรัฐประหารมาเนิ่นนาน ถึงจะผ่านไปหลายปีก็ยังไม่สามารถเข้าใกล้ความมีเสถียรภาพทางการเมืองได้ ตอนนี้ก็ติดกับดักโดยคนชนบทที่ยากจนซึ่งคะแนนเสียงถูกละเลยกำลังต้องการมีสิทธิมีเสียงในระบบการเมืองซึ่งถูกครอบงำโดยอภิสิทธิ์ชนในกรุงเทพฯซึ่งยังไม่เตรียมพร้อมที่จะให้พวก”ป่าเถื่อน” ผ่านเข้ามา ความขัดแย้งยิ่งไปสั่นสะเทือนความมั่นใจของนักลงทุนทั้งในประเทศและนอกประเทศให้แย่ลงไปอีก
This month, Thailand showcased its political chaos for flummoxed regional leaders attending the Association of South-east Asian Nations summit. The gathering was cancelled and the likes of Wen Jiabao, China’s premier, had to be evacuated after the conference facilities were stormed by a brightly coloured mob of Mr Thaksin’s supporters. In subsequent clashes on the streets of Bangkok at least two people were killed. A car carrying Abhisit Vejjajiva, the third prime minister since democracy nominally returned in 2007, came under attack after he declared a state of emergency. There are, Mr Abhisit said with admirable understatement in a Financial Times interview last week, “some major challenges we have to face up to”.
เดือนนี้ (เมษายน) ประเทศไทยก็มีความปั่นป่วนทางการเมืองออกมาเขย่าผู้นำที่มาร่วมประชุมสุดยอดอาเซียน การประชุมถูกยกเลิก บรรดาผู้นำ เช่น นายกรัฐมนตรี เหวิน เจียเป่า ของจีน ต้องถูกอพพพหลังจากสถานที่ประชุมถูกบุกโดยกลุ่มผู้สนับสนุนคุณทักษิณในชุดสีแสบตาต่อจากนั้นก็มีการปะทะกันที่กรุงเทพฯ มีคนตายอย่างน้อยสองคน รถของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หลังการกลับสู่ประชาธิปไตยในปี 2550 ก็ได้ถูกทุบตีหลังจากเขาประกาศภาวะฉุกเฉิน คุณอภิสิทธิ์ได้ให้สัมภาษณ์ไฟแนนเชี่ยล ไทมส์ แสดงความชื่นชมแบบประชดประชันเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่า “เป็นความท้าทายบางประการที่เราต้องเผชิญ”
One of the reasons Thailand has failed to flourish as once predicted is that its growth was built on weaker foundations than supposed. What was in the 1950s an economy based on US patronage, and exports of rice and tapioca, developed into one fuelled by Japanese capital looking for a home after the revaluation of the yen in the mid-1980s. Japanese companies poured in money, building an industrial base, especially in car manufacturing, that remains central to whatever economic success the country still enjoys.
หนึ่งในเหตุผลหลายประการที่ประเทศไทยต้องล้มเหลว ไม่ประสบความสำเร็จตามคำทำนายก็คือการเติบโตเกิดมาจากพื้นฐานที่อ่อนแอกว่าที่คิดไว้ เศรษฐกิจในทศวรรษที่ 1950 ขึ้นกับความช่วยเหลือของสหรัฐอเมริกา การส่งออกข้าวและมันสำปะหลังพัฒนาไปเพราะพลังทุนจากญี่ปุ่นที่มองหาฐานที่มั่นหลังจากการปรับค่าเงินเยนใหม่ในช่วงกลางทศวรรษที่ 1980 บริษัทญี่ปุ่นเทเงินลงมา สร้างฐานการผลิตทางอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผลิตรถยนต์ นี่เป็นเหตุผลหลักของความสำเร็จที่ไทยยังคงได้รับอานิสงค์อยู่
In the 1980s and early 1990s, local entrepreneurs clambered aboard, funded by a powerful local banking system and oiled by age-old connections. The political situation was always chaotic; there have been 18 coup attempts since the end of absolute monarchy in 1932, 11 of them successful. But for much of the time, according to Supavud Saicheua, an economist at Phatra Securities, the country maintained an uneasy equilibrium between monarchy, military, aristocracy and bureaucracy.
ทศวรรษ 1980 และต้นทศวรรษ 1990 ผู้ประกอบการในประเทศคืบคลานสู่ต่างประเทศด้วทุนจากระบบธนาคารท้องถิ่นที่มีอำนาจมหาศาลประกอบกับการสนุบสนุนจากเส้นสายโบร่ำโบราณ สถานการณ์ทางการเมืองมีความวุ่นวายอยู่ตลอด มีความพยายามทำรัฐประหาร 18 ครั้ง นับจากการสิ้นสุดระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชเมื่อปี 1932 ประสบความสำเร็จ 11 ครั้ง ตามความเห็นของศุภวุฒิ สายเชื้อ นักเศรษฐศาสตร์จากหลักทรัพย์ภัทร หลายครั้งหลายหนที่ประเทศไทยต้องเผชิญกับสมดุลที่ง่อนแง่นระหว่าง กษัตริย์ ทหาร คนชั้นสูง และระบบราชการ
Thailand produced few truly world-class companies. It remained, by and large, a rentier economy, funded by foreign capital and driven by foreign expertise. At the time, of course, that was all the rage. In 1991, the World Bank and the International Monetary Fund held their annual meetings in Thailand, a testimony to its openness and liberal reform. That went to Thailand’s head. In 1993 it went the whole hog, liberalising its capital account and setting in train the disastrous over-borrowing in foreign currency that ended with the 1997 crash.
ประเทศไทยมีบริษัทระดับโลกจริงๆอยู่เพียงไม่กี่แห่ง ไทยอยู่ได้โดยด้วยนักลงทุน รับทุนจากเงินทุนของต่างชาติและขับเคลื่อนโดยผู้เชื่ยวชาญต่างชาติเป็นส่วนใหญ่ แน่นอนว่าครั้งหนึ่งไทยเคยเป็นที่นิยมชมชอบ ธนาคารโลกและไอเอ็มเอฟจัดการประชุมประจำปีขึ้นในปี 1991 เป็นเครื่องยืนยันการปฏิรูปที่เปิดกว้างและมีเสรีภาพ ซึ่งยังอยู่ในความทรงจำของไทย ในปี 1993 ไทยก็จมมิดอยู่ในความทุกข์ การเปิดเสรีเงินทุนและการกู้ยืมเงินต่างชาติอย่างต่อเนื่องจนเกินตัวถึงขีดอันตราย และในที่สุดก็ล้มลงเมื่อปี 1997
The crisis led to what Pasuk Phongpaichit and Chris Baker call in their book Thailand’s Boom and Bust a “decapitation of Thailand’s [foreign-currency indebted] capitalist class”. The country has never recovered from the mass beheading. Today, bank lending to business languishes at two-thirds of 1990s levels. The economy has become more dependent on foreign demand, a liability in a world of frightened consumers. Trade accounts for 150 per cent of GDP, against 80 per cent before 1997.
วิกฤติครั้งนั้นทำให้ ผาสุก พงษ์ไพจิตร และคริส เบเคอร์ เรียกในหนังสือของพวกเขาชื่อ “ความรุ่งโจน์และย่อยยับของประเทศไทย” ว่าเป็นการ”ตัดหัวชนชั้นนายทุนที่ก่อหนี้เป็นเงินตราต่างประเทศ” ประเทศไทยไม่เคยฟื้นจากการตัดหัวครั้งใหญ่ ทุกวันนี้ธนาคารให้กู้ยืมแก่ธุรกิจในระดับ 2 ใน 3 ของปี 1990 เศรษฐกิจต้องพึ่งพาอุปสงค์จากต่างประเทศมากขึ้น สายตาของลูกค้าที่กลัวการมีหนี้สิน ดุลการค้าอยู่ที่ร้อยละ 150 ของ GDP ขณะที่ในปี 1997 อยู่ที่ร้อยละ 80
The destruction of Thailand’s entrepreneurial class helped pave the way for Mr Thaksin, one of the few capitalist survivors of the crisis. He converted his wealth, which came courtesy of a telephone monopoly, into political capital, riding into office with the votes of a newly empowered rural poor.
ความล่มสลายของชนชั้นนายทุนเป็นการแผ้วถางทางให้แก่คุณทักษิณซึ่งเป็นหนึ่งในบรรดานายทุนที่รอดชีวิตมาจากวิกฤติการณ์ เขาผันความร่ำรวยซึ่งได้มาจากการธุรกิจโทรศัพท์ไปสู่ทุนทางการเมือง เข้าสู่ทำเนียบด้วยคะแนนจากคนชนบทผู้ยากจนซึ่งเพิ่งจะมีสิทธิมีเสียงหมาดๆ
Mr Thaksin’s election and subsequent conduct proved too much for a Bangkok elite that had not previously seen fit to share power. Its displeasure was finally vented in the coup of 2006, an attempt to roll the country back to a prelapsarian land of smiles. But there is no going back. Unfortunately, it is not yet clear how Thailand can move forward either.
การเลือกทักษิณและพฤติกรรมหลังจากนั้นเป็นยิ่งกว่าการยืนยันแก่อภิสิทธิ์ชนในกรุงเทพซึ่งรู้กันมาก่อนว่าไม่ยินดีที่จะแบ่งปันอำนาจ ความไม่พอใจของอภิสิทธิ์ชนในกรุงเทพนี้นำไปสู่การรัฐประหารในปี 2006 ซึ่งเป็นการกระทำที่ย้อนประเทศไปสู่ยุคเริ่มสร้างโลกก่อนเป็นแผ่นดินแห่งรอยยิ้ม แต่จะย้อนอดีตก็ไม่ได้ โชคร้ายที่ยังไม่ชัดว่าไทยจะก้าวไปข้างหน้าได้อย่างไร
http://www.ft.com/cms/s/0/ebf80c58-34ed-11de-940a-00144feabdc0.html?ftcamp=rss
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)